ส่วนประกอบของราง
ประแจ (รถไฟ)
ประแจ (อังกฤษ: railroad switch, turnout) เป็นอุปกรณ์สำหรับติดตั้งไว้ที่ รางรถไฟสำหรับให้รถไฟเดินเบี่ ยงจากทางเดิมได้เมื่อต้องการ ประแจสามารถควบคุมได้ด้วยคันกลั บที่ตัวประแจ สายลวดดึงรอก หรือมอเตอร์ไฟฟ้าก็ได้ ประแจมีได้ทั้งแบบประแจเบี่ ยงเลี้ยว ประแจเบี่ยงรูปสองง่าม หรือประแจทางตัด
ประแจอย่างง่าย ๆ เริ่มต้นจากทางรถไฟตรงปกติ เมื่อต้องการทำทางเลี้ยวไปด้ านขวา ก็จะตัดส่วนหนึ่งของราวเหล็กด้ านขวาออก ด้านหนึ่งต่อราวเหล็กให้โค้ งออกไปตามแนวเบี่ยง อีกด้านต่อราวในแนวหักมุม เรียกมุมหักนี้ว่าตะเฆ่ (frog) ด้านในของประแจจะมีราวเหล็ กสองอัน อันหนึ่งโค้ง อันหนึ่งตรง ต่อกับจุดหมุนตรงตะเฆ่ เรียกว่ารางลิ้น (point blades) เมื่อกลไกกลับประแจดึงให้ราวโค้ งชิดซ้าย (ตามรูป) ก็จะทำให้รถไฟสามารถแล่ นไปทางขวาได้ ในทางกลับกันถ้ากลับประแจให้ ราวตรงชิดขวา ก็ทำให้รถไฟเดินตรงไปตามปรกติ
างของรางรถไฟช่วยบังคับล้อให้ เคลื่อนไปในทิศทางที่เหมาะสม[1] โดยมีครีบล้อ (หรือบังใบล้อ) ซึ่งติดอยู่ตอนในของล้อช่วย หากต้องการให้รถไฟเปลี่ยนทิ ศทางเดิม ก็จำเป็นต้องให้ราวเหล็กด้านหนึ่ งบังคับทิศขบวนรถไป โดยมีราวเหล็กอีกด้านหนึ่งคอยกั้ นมิให้ครีบล้อเข้าไปในทิศทางที่ ไม่ต้องการ หาไม่แล้วรถไฟก็จะตกรางได้ จากหลักการข้างต้น เราสามารถเปลี่ยนทิ ศทางของขบวนรถได้
รางลิ้นประแจ เดิมที่บังคับด้วยคันโยกที่ติ ดกับตัวประแจ ซึ่งประแจชนิดนี้ยังมีใช้ถึงปั จจุบันโดยเฉพาะในเขตโรงซ่อมรถไฟ หรือสถานีที่การจราจรไม่มาก ในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาให้มี กลไกข้อเหวี่ยงติดกับรอก และใช้สายลวดบังคับ ซึ่งประแจลักษณะนี้มีใช้มากเช่ นกัน เมื่อย่านสถานีรถไฟมีขนาดใหญ่ โตขึ้น การใช้สายลวดเป็นการไม่ สะดวกเพราะเกะกะการเดินไปมาในย่ าน จึงได้มีการใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหรื อลมอัดบังคับประแจขึ้น
โดยปกติ ประแจสามารถใช้งานได้ดีที่ ความเร็วต่ำ ๆ เพราะยิ่งความเร็วสูง โอกาสที่จะถูกแรงเข้าสู่ศูนย์ กลางเหวี่ยงให้ตกรางก็มีมากขึ้น แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้ ประแจสามารถผ่านด้วยความเร็วสูง ๆ ได้ นอกจากนี้ ในประเทศเขตหนาวยังได้มีการติ ดตั้งระบบทำความร้อนที่รางลิ้ นประแจ ช่วยให้น้ำแข็งไม่ เกาะประแจจนขยับรางลิ้นไม่ได้
รถไฟสามารถเปลี่ยนทิศทางเดินได้ ประกอบด้วยราวเหล็กโค้ งและราวเหล็กตรงอย่างละอัน ปลายด้านที่สวนกับขบวนรถจะลี บเล็กเพื่อให้ชิดซ้ายหรือขวาได้ สะดวก จากรูป (ซ้ายมือ) เป็นประแจสวนเบี่ยงไปทางซ้าย ท่าตรง จะสังเกตเห็นว่ารางลิ้นชิดซ้าย ทำให้ครีบล้อยังคงรักษาทิ ศทางตรงได้อยู่ ในทางกลับกันหากกลับประแจให้ รางลิ้นชิดขวา บังใบล้อจะถูกบังคับให้เดิ นตามทางเลี้ยวแทน
างมากเพราะต้องรับแรงสะเทื อนจากขบวนรถ จนบางครั้งก็ต้องนำไปทำให้แข็ งโดยผ่านประบวนการแรงระเบิด (shock hardening) คำว่า frog มีที่มาจากลักษณะของตะเฆ่กับกี บม้า
านในรางรถไฟในระยะกว้างพอให้ครี บล้อผ่านได้ นิยมติดตั้งไว้ด้านตรงข้ามกั บตะเฆ่เพื่อให้แน่ใจว่าครีบล้ ออยู่ในทิศทางที่ถูกต้อง หรือแม้แต่นำไปติดตั้งในโค้งรั ศมีแคบหรือบนสะพานด้วย
นอกจากนี้ ยังมีเครื่องกลับประแจหรือคั นกลับประแจเพิ่มเติมด้วย ซึ่งจะทำหน้าที่ขยับรางลิ้นให้ อยู่ในทิศทางที่ถูกต้อง รวมไปถึงกลไกบังคับสั ญญาณประจำที่สัมพันธ์ประแจนั้ นด้วย
ประแจอย่างง่าย ๆ เริ่มต้นจากทางรถไฟตรงปกติ เมื่อต้องการทำทางเลี้ยวไปด้
หลักการทำงาน
เนื่องจากรถไฟ (รถจักร และรถพ่วง ตลอดจนยานยนต์ราง) ต้องอาศัยราวเหล็กทั้งสองข้รางลิ้นประแจ เดิมที่บังคับด้วยคันโยกที่ติ
โดยปกติ ประแจสามารถใช้งานได้ดีที่
ส่วนประกอบของประแจ
รางลิ้น
รางลิ้น (point blade) เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้ตะเฆ่
ตะเฆ่ (frog) หมายถึงจุดต่อหักมุมของราวเหล็ก ระหว่างทางตรงและทางเลี้ยว เป็นส่วนที่ต้องทำให้แข็งแรงอย่รางกัน
รางกัน หรือราวกัน (check rail) เป็นราวเหล็กที่ติดตั้งชิดด้นอกจากนี้ ยังมีเครื่องกลับประแจหรือคั
ส่วนประกอบของรถไฟ
รถไฟดีเซล
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEigeKB1KA1qM-xG6kUwTOchvGaH5YePmy7zQu1TkJaSThCRKmSPtYGaMPb0mlN-QYXe48AwD8t8catwwFTjnu7SOqhE1nS0BcacDENry4moXS2Hl-Fy77pwNpXFtJtr8QZfsoyp8NO41KM/s320/l4-197%255B1%255D.jpg)
๑. โครงประธาน และลำตัว ทำหน้าที่รับตัวเครื่องยนต์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ติดตั้งอยู่บนโครงพื้นซึ่
๒. ตัวเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งเป็นเครื่องต้นกำลังจะติดตั้
๓. อุปกรณ์เครื่องถ่ายทอดกำลั
ระบบถ่ายทอดกำลังที่มีใช้กั
๑. ระบบไฟฟ้า รถจักรที่ใช้วิธีการถ่ายทอดกำลั
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgHIEZnyCgnrbknFAYDf624DLLSNpAHqxGvOBfaYOSsvOy-5x1gdEmiPdAjxLJ0Fq80z9FdJOygvQWCDesvuRkb648Y155NPsXlvIkmhw8P_lO-F8k-cIqwQTQE1Lte0kXFc7DaDrlCKC8/s320/l4-198%255B1%255D.jpg)
๒. ระบบไฮดรอลิก รถจักรที่ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลั งด้วยระบบของเหลว (ไฮดรอลิก) เรียกว่า รถจักรดีเซลไฮดรอลิก (diesel hydraulic locomotive) อุปกรณ์เครื่องถ่ายทอดกำลัง เรียกว่า เครื่องแปลงแรงหมุน (torque converter) จะประกอบด้วยใบพัด ๒ ตัว เรียกว่า อิมเพลเลอร์ (impeller) และเทอร์ไบน์รันเนอร์ (turbine runner) และมีน้ำมันอยู่ ภายในเครื่องยนต์ดีเซลต้นกำลัง จะหมุนอิมเพลเลอร์ให้ปั่นน้ำมัน เพื่อมีแรงไปหมุนเทอร์ไบน์รั นเนอร์ ซึ่งจะมีกำลังงานหรือแรงเพิ่มขึ้ น พอเพียงที่จะไปหมุนเพลาล้อรถจั กรได้ โดยผ่านฟันเฟือง และกลไกต่างๆ
รถไฟฟ้า BTS
| ||||||||
ระบบขนส่ งทางราง
ประวัติ
อดีตการเลืในบางประเทศ การเลือกใช้รางเป็นประเด็
รางรถไฟในประเทศไทย
การพัฒนารางรถไฟในประเทศไทยเริ่- รางรถไฟ 1.000 เมตร (มีเตอร์เกจ)
- รางรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ขนาด 1 เมตร หรือ Meter Gauge - รถไฟหลวง สถานีรถไฟกรุงเทพ - สถ
านีรถไฟนครราชสีมา (ในอดีตมี ขนาด 1.435 เมตร)
- รางรถไฟ 1.435 เมตร (สแตนดาร์ดเกจ)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น